เข้าสู่ระบบ

Login to your account

Username *
Password *
Remember Me

Developed in conjunction with Joomla extensions.

รอบรั้วโครงการ

สดช. เข้าร่วมการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox)

เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2566 เจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) ได้เข้าร่วมทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox) โครงการ “Experimental Study and Implementation of 5G Technology on 6 GHz Band” ภายใต้การดำเนินงานของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด

NT เข้าร่วมการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox)

เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 โครงการ “Experimental Study and Implementation of 5G Technology on 6 GHz Band” ภายใต้การดำเนินงานของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ได้ดำเนินการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6 GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox) ร่วมกับทีมงาน บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)

บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (AIS) เข้าเยี่ยมชมการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox)

เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 ทีมงาน บมจ. แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส (AIS) ได้เข้าร่วมทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox) โดยได้ร่วมทดลองทดสอบภาคสนามกรณี Outdoor to Outdoor (O2O) และกรณี Outdoor to Indoor (O2I)

กสทช. เข้าเยี่ยมชมการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox)

เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2566 คณะผู้บริหารและเจ้าหน้าที่จากสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ได้เข้าเยี่ยมชมการทดลองทดสอบคลื่น IMT 6GHz ในพื้นที่กำกับดูแลพิเศษ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (Chula Sandbox) ของโครงการ“Experimental Study and Implementation of 5G Technology on 6 GHz Band” ภายใต้การดำเนินงานของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ถอดบทเรียนโครงการการจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะทางนโยบายสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย”

สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาแนวคิดและกำหนดนโยบายการจัดการขยะในระดับเทศบาลและ/หรือเมือง ภายใต้โครงการจัดการเมืองคาร์บอนต่ำที่น่าอยู่และการพัฒนากลไกการเติบโตสีเขียวเพื่อรับมือกับผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างยั่งยืน สําหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในหัวข้อ “ถอดบทเรียนโครงการการจัดการขยะภายในมหาวิทยาลัยเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะทางนโยบายสำหรับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย” ขึ้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ณ โรงแรมราชภัฏอินน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงราย


ศูนย์บริการวิชาการ
แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

254 อาคารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชั้น 4 ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
โทร. 0-2218-2880 โทรสาร. 0-2218-2880 ต่อ 701
Email: unisearch@chula.ac.th

Search